(0)
เหรียญปั๊ม2475 พระพุทธชินราช วัดเบญจมบพิต








รายงานผลโหวต

จากรูปพระแท้ 0% [0]
จากรูปพระแท้แต่ข้อมูลไม่ถูกต้อง     0% [0]
จากรูปพระเก๊ 0% [0]
พระดูยากจากรูป 0% [0]

จำนวน โหวต



ชื่อพระเครื่องเหรียญปั๊ม2475 พระพุทธชินราช วัดเบญจมบพิต
รายละเอียดเหรียญปั๊มพระพุทธชินราช วัดเบญจมบพิต ปี๒๔๗๕ เนื้อทองแดง/ราคาอาจมีการเปลี่ยนแปลงรีบเก็บสะสมนะครับ{...!!!ข้อมูลต่อไปนี้คัดลอกมาจากเวปต่างๆจึงขอขอบคุณท่านผู้ค้นคว้าทุกท่านครับ!!!...เหรียญพระพุทธชินราชสร้างปี 2475 ออกที่วัดเบญจมบพิตร นำชนวนที่เหลือจากการหล่อพระพุทธชินราชจำลอง มาจัดสร้างเป็นเหรียญ"สร้างแบบนูนตำปั๊มกระบอก"............ประวัติการหล่อพระพุทธชินราชจำลอง วัดเบญจ ...เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ มีพระราชประสงค์ที่จะหาพระประธาน สำหรับวัดเบญจมพิตร ซึ่งทรงขยายพระราชวังดุสิต จึงทรงสถาปนาวัดเบญจมบพิตร ให้มีความงดงามสมเป็นวัดใกล้วังดุสิต จึงโปรดเกล้าให้สมเด็จเจ้าฟ้า กรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ ออกแบบถวาย และพระราชทานนามใหม่ว่า “วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม” อันเป็นที่รวบรวมพระพุทธรูปจากทั่วประเทศ “...ศุภมัสดุ พระพุทธสาสนกาลล่วงแล้ว ๒๔๔๔ พรรษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชศรัทธามีพระราชประสงค์จะทรงสร้างพระพุทธปฏิมากร ให้มีพระพุทธลักษณเหมือนพระพุทธชินราช ณ เมืองพระพิษณุโลก อันมีมาแต่โบราณเพื่อประดิษฐานเปนพระประธานในพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตรดุสิต วนาราม ณ กรุงเทพมหานคร จึงเสด็จพระราชดำเนิรโดยกระบวนชลมารควิถี มาประทับแรม ณ เมืองพระพิษณุโลก ครั้น ณ วันพฤหัสบดีที่ ๑๗ ตุลาคม รัตนโกสินทรศก ๑๒๐ จันทรคติกาลเดือน ๑๐ ขึ้น ๕ ค่ำปีฉลู ตรีศกจุลศักราช ๑๒๖๓ เสด็จพระราชดำเนิรมานมัศการพระพุทธชินราช ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ทรงปิดทองถวายใหม่ทั่วทั้งพระองค์ แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้มีการมหรสพสมโภชแลจัดการตั้งพระราช พิธีที่จะหล่อพระพุทธชินราชขึ้นใหม่ ณ พระวิหารวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์ ๓๐ รูปแลสวดภาณวารประจำเทียนไชย์ ๔ รูป นังปรกรูป ๑ ผลัดเปลี่ยนกันตลอดการพระราชพิธีถ้วน ๓ ทิวาราตรี ครั้น ณ วันอาทิตย์ที่ ๒๐ ตุลาคมรัตนโกสินทรศก ๑๒๐ จันทรคติกาล เดือน ๑๑ ขึ้น ๘ ค่ำปีฉลูตรีศกจุลศักราช ๑๒๖๓ เวลารุ่งเช้าเปนมงคลฤกษ์อันอุดม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเททองหล่อพระพุทธปฏิมากรเปนปฐม แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ช่างเททองต่อไป แล้วเสด็จพระราชดำเนิรจากเมืองพระพิษณุโลก ไปประพาสหัวเมืองฝ่ายเหนือต่อไปจนถึงเมืองอุตรดิฐ เมื่อเสด็จพระราชดำเนิรกลับมาถึงเมืองพิษณุโลก เสด็จพระราชดำเนิรมานมัสการพระพุทธชินราช แลทอดพระเนตรพระพุทธปฏิมากรที่หล่อใหม่แล้ว จึงทรงปลูกต้นโพธิ์ต้นนี้ไว้ ณ ที่นี้ อันเปนที่ตั้งพิมพ์หล่อพระพุทธปฏิมากรองค์ใหม่ ให้ต้องตามตำนานในกาลกอ่นกล่าวไว้ว่า เมื่อครั้งโบราณมหาราชทรงสร้างพระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห์แลพระศรีศาสดาได้ทรงปลูกต้นโพธิ์ไว้ในที่ซึ่งหล่อพระ พุทธปฏิมากรทั้งสามพระองค์นั้น อันเรียกกันว่าโพธิ์สามเส้ามีปรากฏอยู่ในบัดนี้ ต้นโพธิ์ต้นนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงปลูกเมื่อ ณ วันอาทิตย์ที่ ๒๗ ตุลาคม รัตนโกสินทรศก ๑๒๐ จันทรคติกาลเดือน ๑๑ ขึ้น ๑๕ ค่ำปีฉลูตรีศกจุลศักราช ๑๒๖๓ ขอสาธุชนผู้นับถือพระพุทธสาสนา อันได้มานมัสการในที่นี้ จงรลึกถึงคุณพระรัตนไตรยอันเปนเหตุให้เกิดภาวนามัยบุญกิริยา แล้วจงรลึกถึงพระเดชพระคุณในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แลอุทิศส่วนกุศลถวายด้วยอำนาจความศรัทธา แลกตัญญูกตเวทิตาขอความสิริสวีสดิ์พิพัฒนมงคลชนมสุขจงมีแก่ท่านทั้งหลาย ความประสงค์ที่เปนธรรมปราศจากโทษจงสำเร็จทุกประการเทอญ ฯ…..” ข้อความนี้จารึกที่ศิลา ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ พระประสิทธิปฏิมา (ม.ร.ว.เหมาะ ดวงจักร เมื่อครั้งเป็นหลวงประสิทธิปฏิมา) จางวางช่างหล่อขวา ซึ่งเป็นช่างหล่อฝีมือดีที่สุด ขึ้น ไปปั้นหุ่นถ่ายแบบจากพระพุทธชินราชองค์เดิมที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก (เริ่มทำหุ่นตลอดจนถ่ายแบบ ๑๓ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๔๓) แล้วเสด็จพระราชดำเนิน ทรงเททองหล่อเป็นส่วนๆ เมื่อวันที่ ๒๐ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๔๔ เมื่อ หล่อพระแล้ว จึงอัญเชิญล่องเรือมาคุมองค์และแต่งที่กรมทหารเรือ โดย พระยาชลยุทธโยธิน (Andre du Plessis de Richelieu) ชาวเดนมาร์ก เข้ามารับราชการเป็นทหารเรือ มียศเป็นพลเรือโท ตำแหน่งผู้บัญชาการกรมทหารเรือ(๑๖ มกราคม ๒๔๔๓ - ๒๙ มกราคม ๒๔๔๔) เป็นผู้ควบคุมการแต่งองค์พระ เสร็จแล้วเชิญลงเรือมณฑปแห่ไปประดิษฐานเป็นพระประธานในพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร เมื่อวันที่ ๑๓ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๔๔ ภาพอัญเชิญพระพุทธชิราช ขณะถึงวัดเบญจมบพิตร โดยทหารเรือ การ ทั้งปวงตั้งแต่ปั้นหุ่น หล่อ ตกแต่ง และอัญเชิญขึ้นประดิษฐาน ในพระอุโบสถสำเร็จเรียบร้อยดี ทรงปีติโสมนัสอย่างยิ่ง “จึงทรงเปลื้องสายสะพายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ นพรัตน์ราชวราภรณ์ ซึ่งกำลังทรงอยู่นั้น ถวายพระพุทธชินราชเป็นพุทธบูชา” พระพุทธชินราชจำลอง เลื่อนผ่านพลับพลาพิธี พระพุทธชินราชจำลอง เข้าไปยังพระอุโบสถ ต่อมาถึงปลายปี พ.ศ. ๒๔๕๒ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จ้าง มร.จุรุหระ (Mr. Tsuruhara) ครู ช่างในโรงเรียนวิชาช่างกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เข้ามาทำการปิดทองจนแล้วเสร็จ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานสมโภชในวันที่ ๕ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๕๓ พระ พุทธชินราชจำลอง เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย นั่งสมาธิราบ ศิลปะสมัยสุโขทัย มีเรือนแก้ว ประทับนั่งเหนือรัตนบัลลังก์หินอ่อน เรือนแก้วนี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทำถวาย เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๕ แต่ช่างทำไม่งาม พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ จึงโปรดเกล้าฯ ให้แก้ไขใหม่สวยงามตามที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน การ ทั้งปวงตั้งแต่ปั้นหุ่น หล่อ ตกแต่ง และอัญเชิญขึ้นประดิษฐาน ในพระอุโบสถสำเร็จเรียบร้อยดี ทรงปีติโสมนัสอย่างยิ่ง “จึงทรงเปลื้องสายสะพายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ นพรัตน์ราชวราภรณ์ ซึ่งกำลังทรงอยู่นั้น ถวายพระพุทธชินราชเป็นพุทธบูชา” พระพุทธชินราชจำลอง เลื่อนผ่านพลับพลาพิธี พระพุทธชินราชจำลอง เข้าไปยังพระอุโบสถ ต่อมาถึงปลายปี พ.ศ. ๒๔๕๒ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จ้าง มร.จุรุหระ (Mr. Tsuruhara) ครู ช่างในโรงเรียนวิชาช่างกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เข้ามาทำการปิดทองจนแล้วเสร็จ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานสมโภชในวันที่ ๕ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๕๓ พระ พุทธชินราชจำลอง เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย นั่งสมาธิราบ ศิลปะสมัยสุโขทัย มีเรือนแก้ว ประทับนั่งเหนือรัตนบัลลังก์หินอ่อน เรือนแก้วนี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทำถวาย เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๕ แต่ช่างทำไม่งาม พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ จึงโปรดเกล้าฯ ให้แก้ไขใหม่สวยงามตามที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน ต่อมาถึงปลายปี พ.ศ. ๒๔๕๒ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จ้าง มร.จุรุหระ (Mr. Tsuruhara) ครู ช่างในโรงเรียนวิชาช่างกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เข้ามาทำการปิดทองจนแล้วเสร็จ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานสมโภชในวันที่ ๕ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๕๓ พระ พุทธชินราชจำลอง เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย นั่งสมาธิราบ ศิลปะสมัยสุโขทัย มีเรือนแก้ว ประทับนั่งเหนือรัตนบัลลังก์หินอ่อน เรือนแก้วนี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทำถวาย เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๕ แต่ช่างทำไม่งาม พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ จึงโปรดเกล้าฯ ให้แก้ไขใหม่สวยงามตามที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน -ของดีราคาถูกครับ ประกันแท้ตลอดไป
ราคาเปิดประมูล1,800 บาท
ราคาปัจจุบัน-- ยังไม่มีผู้เสนอราคา -- (!!! ปิดประมูลแล้ว !!!)
เพิ่มขึ้นครั้งละ100 บาท
วันเปิดประมูล - 25 ก.ค. 2555 - 17:22:35 น.
วันปิดประมูล - 31 ก.ค. 2555 - 17:22:35 น. (ปิดประมูลแล้ว)
ผู้ตั้งประมูลจงกลนีพระเครื่อง (762)


(0)
ข้อมูลเพิ่มเติม 1 - 25 ก.ค. 2555 - 17:32:13 น.



ขอบตัดกระบอก ดูง่ายมากครับ


ข้อมูลเพิ่มเติม 2 - 25 ก.ค. 2555 - 17:33:01 น.



หูเชือมเก่า คลาสิค


 
ราคาปัจจุบัน :     1,800 บาท
เพิ่มขึ้นครั้งละ :     100 บาท

!!! ท่านต้อง login เข้าสู่ระบบก่อน จึงจะสามารถร่วมประมูลได้ !!!


 

Copyright ©G-PRA.COM