(0)
พญาหงษ์เจ้าทรัพย์ หลังพระพิฆเนศ ว่านขาว ฝังพลอย+ตะกรุดเงิน กว้าง 2.4 ซ.ม. สูง 3.4 ซ.ม. รุ่น โชคลาภ มหาเศรษฐี ปี 2546** แถม จตุคาม รุ่น มงคลทรัพย์แสนล้าน ว่านแดง 5 ซม. หน้าจตุคาม หลังพระพิฆเนศวร








รายงานผลโหวต

จากรูปพระแท้ 0% [0]
จากรูปพระแท้แต่ข้อมูลไม่ถูกต้อง     0% [0]
จากรูปพระเก๊ 0% [0]
พระดูยากจากรูป 0% [0]

จำนวน โหวต



ชื่อพระเครื่องพญาหงษ์เจ้าทรัพย์ หลังพระพิฆเนศ ว่านขาว ฝังพลอย+ตะกรุดเงิน กว้าง 2.4 ซ.ม. สูง 3.4 ซ.ม. รุ่น โชคลาภ มหาเศรษฐี ปี 2546** แถม จตุคาม รุ่น มงคลทรัพย์แสนล้าน ว่านแดง 5 ซม. หน้าจตุคาม หลังพระพิฆเนศวร
รายละเอียดพระพิฆเนศวร์ หรือ พระคเณศ เทพเจ้าซึ่งมีเศียรเป็นช้าง มีกำเนิดจากตำนานเทพพื้นเมืองอินเดีย ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นเทพเจ้าองค์สำคัญในศาสนาฮินดูและได้แผ่ขยายความเชื่อถือศรัทธามาสู่แผ่นดินสยามตั้งแต่ครั้งโบราณ จึงปรากฏรูปประติมากรรมพระพิฆเนศวร์ ณ โบราณสถาน และสักการะสถานหลายแห่ง หลายอายุสมัยทั่วประเทศ

แนวคิดหลักประการสำคัญกล่าวว่า พระพิฆเนศวร์เป็นเทพผู้ประทานความสำเร็จ เป็นเทพที่สามารถขจัดอุปสรรคกีดขวางทั้งปวงได้ บุคคลผู้บูชาจะเกิดความสำเร็จไม่ว่าจะเป็นด้านกิจการงานใด ๆ จึงยกย่องว่าพระพิฆเนศวร์ เป็นเทพเจ้าแห่งศิลปวิทยาการ เทพเจ้าแห่งความฉลาด รอบรู้ เทพเจ้าแห่งความสำเร็จ เทพประจำเรือน เทพผู้ประทานความอุดมสมบูรณ์ เทพผู้คุ้มครองป้องกันขัดขวงสิ่งชั่วร้ายทั้งปวง หรือกล่าวได้ว่าเป็น ‘ เทพเจ้าแห่งจักรวาล’ ดังนั้น เมื่อจะประกอบพิธีกรรมใด ๆ ก็มักจะเป็นเทพที่ได้รับการบูชาก่อนการบูชาเทพองค์อื่น ๆ เพื่อความเป็นศิริมงคลให้พิธีกรรมและงานดังกล่าวสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีโดยปราศจากอุปสรรค

พิธีกรรมและวันสำคัญบูชาพระพิฆเนศวร์ที่ยึดถือกันมาคือ

ประจำปี วันแรม ๔ ค่ำ เดือน ๙ และวันแรม ๔ ค่ำ เดือน ๑๐
ส่วนในแต่ละเดือน บูชาวันขึ้น ๔ ค่ำ และแรม ๔ ค่ำ ของแต่ละเดือน
ของที่ถวายเช่น ขนมโมทกะ ขนมหวาน ผลไม้ นมสด หญ้าแพรก เป็นต้น
สำหรับบทสรรเสริญพระพิฆเนศวร์ มีหลายบท คาถาบูชาจำง่ายสั้น ๆ ดังนี้

“ โอมศรีคเณศายะนะมาฮา ”

หลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ เป็นพระภาวนาจารย์ ถือธุดงควัตรอยู่ป่าช้าเป็นนิจ หลังจากอุปสมบทได้ 3 พรรษา จึงออกธุดงค์ และศึกษากับครูบาอาจารย์ ณ เมืองมากมายในประเทศกัมพูชานานถึง 39 พรรษา รวมครูบาอาจารย์กว่า 160 องค์ ได้ศึกษาพระกัมมัฏฐาน และวิชาไสยเวทย์ วิทยาคม วิชาอาถรรพณ์ 7 มุมเมือง ต่างๆ

หลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ หรือ พระครูปราสาทพรหมคุณ สุสานทุ่งมน วัดเพชรบุรี อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ นามเดิมชื่อ นายสุวรรณหงษ์ จะมัวดี เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่23 มีนาคม พ.ศ.2461 ณ บ้านทุ่งมน อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ โยมบิดาชื่อ โบก โยมมารดาชื่อ อื่น มีอาชีพทำนา หลวงปู่มีพี่น้องทั้งหมด8คน หลวงปู่หงษ์เป็นคนโต

บรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุ18ปี จนกระทั่งอายุ20จึงได้อุปสมบท ณ วัดเพชรบุรี โดยมีหลวงปู่แปรรนเป็นพระอุปัชฌาย์ หลวงปู่จึงเป็นพระกรรมการวาจาจารย์ และหลวงปู่กาดเป็นพระอนุสาวจาจารย์ สมัยบรรพชาเป็นสามเณรครูบาอาจารย์ของท่านเรียกใหม่ว่า "สามเณรพรหมศร" เมื่ออุปสมบทก็ได้รับฉายานามว่า "พรหมปัญโญ"

หลวงปู่ได้ศึกษาเล่าเรียนทั้งทางปริยัติและทางปฏิบัติจากครูบาอาจารย์มากมายหลายท่าน หลังจากที่หลวงปู่หงษ์ได้บวชแล้วเจ็ดปี จึงได้เดินทางธุดงค์ไปที่เขมรเพื่อบำเพ็ญเพียรทางธรรมและแสวงหาความสงบวิเวก อีกทั้งเพื่อไปร่ำเรียนวิชาคาถาอาคมจากอาจารย์ต่างๆๆที่มีอยู่ ซึ่งจากการที่หลวงหลวงปู่ท่านได้เดินทางไปธุดงค์เพื่อแสวงหาความวิเวกทางจิตนี้เอง จึงทำให้พระเครื่องเครื่องรางของขลังตลอดจนวัตถุมงคงของหลวงปู่มีพุทธานุถาพอันเข้มขลังไม่เป็นสองรองใคร และหลวงปู่หงษ์ได้กลับมาพำนักอยู่ ณ ที่วัดเพชรบุรี และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาส เมื่อปีพ.ศ.2516 เป็นต้นมา
ราคาเปิดประมูล199 บาท
ราคาปัจจุบัน209 บาท (!!! ปิดประมูลแล้ว !!!)
เพิ่มขึ้นครั้งละ10 บาท
วันเปิดประมูล - 10 ม.ค. 2551 - 23:26:39 น.
วันปิดประมูล - 15 ม.ค. 2551 - 16:18:49 น. (ปิดประมูลแล้ว)
ผู้ตั้งประมูลnkkrala (2K)


(0)
ข้อมูลเพิ่มเติม 1 - 10 ม.ค. 2551 - 23:27:08 น.
.


สุสานทุ่งมน สุรินทร์
รายละเอียด พระพิฆเนศวร์ หรือ พระคเณศ เทพเจ้าซึ่งมีเศียรเป็นช้าง มีกำเนิดจากตำนานเทพพื้นเมืองอินเดีย ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นเทพเจ้าองค์สำคัญในศาสนาฮินดูและได้แผ่ขยายความเชื่อถือศรัทธามาสู่แผ่นดินสยามตั้งแต่ครั้งโบราณ จึงปรากฏรูปประติมากรรมพระพิฆเนศวร์ ณ โบราณสถาน และสักการะสถานหลายแห่ง หลายอายุสมัยทั่วประเทศ

แนวคิดหลักประการสำคัญกล่าวว่า พระพิฆเนศวร์เป็นเทพผู้ประทานความสำเร็จ เป็นเทพที่สามารถขจัดอุปสรรคกีดขวางทั้งปวงได้ บุคคลผู้บูชาจะเกิดความสำเร็จไม่ว่าจะเป็นด้านกิจการงานใด ๆ จึงยกย่องว่าพระพิฆเนศวร์ เป็นเทพเจ้าแห่งศิลปวิทยาการ เทพเจ้าแห่งความฉลาด รอบรู้ เทพเจ้าแห่งความสำเร็จ เทพประจำเรือน เทพผู้ประทานความอุดมสมบูรณ์ เทพผู้คุ้มครองป้องกันขัดขวงสิ่งชั่วร้ายทั้งปวง หรือกล่าวได้ว่าเป็น ‘ เทพเจ้าแห่งจักรวาล’ ดังนั้น เมื่อจะประกอบพิธีกรรมใด ๆ ก็มักจะเป็นเทพที่ได้รับการบูชาก่อนการบูชาเทพองค์อื่น ๆ เพื่อความเป็นศิริมงคลให้พิธีกรรมและงานดังกล่าวสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีโดยปราศจากอุปสรรค

พิธีกรรมและวันสำคัญบูชาพระพิฆเนศวร์ที่ยึดถือกันมาคือ

ประจำปี วันแรม ๔ ค่ำ เดือน ๙ และวันแรม ๔ ค่ำ เดือน ๑๐
ส่วนในแต่ละเดือน บูชาวันขึ้น ๔ ค่ำ และแรม ๔ ค่ำ ของแต่ละเดือน
ของที่ถวายเช่น ขนมโมทกะ ขนมหวาน ผลไม้ นมสด หญ้าแพรก เป็นต้น
สำหรับบทสรรเสริญพระพิฆเนศวร์ มีหลายบท คาถาบูชาจำง่ายสั้น ๆ ดังนี้

“ โอมศรีคเณศายะนะมาฮา ”

หลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ เป็นพระภาวนาจารย์ ถือธุดงควัตรอยู่ป่าช้าเป็นนิจ หลังจากอุปสมบทได้ 3 พรรษา จึงออกธุดงค์ และศึกษากับครูบาอาจารย์ ณ เมืองมากมายในประเทศกัมพูชานานถึง 39 พรรษา รวมครูบาอาจารย์กว่า 160 องค์ ได้ศึกษาพระกัมมัฏฐาน และวิชาไสยเวทย์ วิทยาคม วิชาอาถรรพณ์ 7 มุมเมือง ต่างๆ

หลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ หรือ พระครูปราสาทพรหมคุณ สุสานทุ่งมน วัดเพชรบุรี อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ นามเดิมชื่อ นายสุวรรณหงษ์ จะมัวดี เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่23 มีนาคม พ.ศ.2461 ณ บ้านทุ่งมน อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ โยมบิดาชื่อ โบก โยมมารดาชื่อ อื่น มีอาชีพทำนา หลวงปู่มีพี่น้องทั้งหมด8คน หลวงปู่หงษ์เป็นคนโต

บรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุ18ปี จนกระทั่งอายุ20จึงได้อุปสมบท ณ วัดเพชรบุรี โดยมีหลวงปู่แปรรนเป็นพระอุปัชฌาย์ หลวงปู่จึงเป็นพระกรรมการวาจาจารย์ และหลวงปู่กาดเป็นพระอนุสาวจาจารย์ สมัยบรรพชาเป็นสามเณรครูบาอาจารย์ของท่านเรียกใหม่ว่า "สามเณรพรหมศร" เมื่ออุปสมบทก็ได้รับฉายานามว่า "พรหมปัญโญ"

หลวงปู่ได้ศึกษาเล่าเรียนทั้งทางปริยัติและทางปฏิบัติจากครูบาอาจารย์มากมายหลายท่าน หลังจากที่หลวงปู่หงษ์ได้บวชแล้วเจ็ดปี จึงได้เดินทางธุดงค์ไปที่เขมรเพื่อบำเพ็ญเพียรทางธรรมและแสวงหาความสงบวิเวก อีกทั้งเพื่อไปร่ำเรียนวิชาคาถาอาคมจากอาจารย์ต่างๆๆที่มีอยู่ ซึ่งจากการที่หลวงหลวงปู่ท่านได้เดินทางไปธุดงค์เพื่อแสวงหาความวิเวกทางจิตนี้เอง จึงทำให้พระเครื่องเครื่องรางของขลังตลอดจนวัตถุมงคงของหลวงปู่มีพุทธานุถาพอันเข้มขลังไม่เป็นสองรองใคร และหลวงปู่หงษ์ได้กลับมาพำนักอยู่ ณ ที่วัดเพชรบุรี และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาส เมื่อปีพ.ศ.2516 เป็นต้นมา


 
ราคาปัจจุบัน :     209 บาท
เพิ่มขึ้นครั้งละ :     10 บาท

!!! ปิดประมูลแล้ว !!!

ผู้ชนะประมูล    pepspicy (940)

 

Copyright ©G-PRA.COM